0 2201 7250-6

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

1.1.1 มีบริบทองค์กรและขอบเขตของการจัดการสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน

(3) มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของ

สำนักงาน

 

มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ของสำนักงาน

      กองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สท.)  มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่ ประกอบด้วยอาคารหอสมุดฯ (ฝั่งหอสมุดฯ) ครอบคลุมพื้นที่ 6 ชั้น ดังนี้

- ชั้น 1 เป็นพื้นที่เคาน์เตอร์ให้บริการ พื้นที่รับรอง พื้นที่จัดกิจกรรม ชั้นวางวารสาร และห้องอนุสรณ์ ดร.ตั้ว ลพานุกรม

    

          

          

          

 

- ชั้น 2 เป็นพื้นที่ชั้นวางหนังสือภาษาต่างประเทศ

     

      

- ชั้น 3 เป็นพื้นที่สำนักงาน ห้องประชุมฯ และพื้นที่รับประทานอาหาร

 

- ชั้น 4 เป็นพื้นที่สำนักงาน ห้องประชุมฯ และพื้นที่เก็บของที่ระลึก

 

- ชั้น 5 เป็นพื้นที่ชั้นวางหนังสือ วารสาร เอกสารต่างๆ ภาษาไทย

 

- ชั้น 6 เป็นพื้นที่ชั้นวางเอกสารมาตรฐาน สิทธิบัตร เอกสารการค้าต่างประเทศ และสำนักงาน

โดยพื้นที่หน้าอาคารหอสมุดฯ มีลานจอดรถ มีพื้นที่สีเขียว ภายในอาคารทุกชั้นมีบันได ห้องน้ำสำหรับเจ้าหน้าที่และผู้รับบริการ และหน้าห้องน้ำทุกชั้นมีพื้นที่รองรับของเสีย โดยจัดตั้งถังขยะแยกตามประเภทของขยะ ส่วนบริเวณพื้นที่รับประทานอาหาร มีการติดตั้งเครื่องถังดักไขมัน

     พื้นที่จอดรถหน้าอาคารหอสมุดฯ

 

 ถังขยะหน้าห้องน้ำ

 

ถังดักไขมันบริเวณห้องจัดเลี้ยงชั้น 3

(4) มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน

 

 

มีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักงาน

   กองหอสมุดฯ มีกิจกรรมการบริการสารสนเทศ ณ พื้นที่ชั้น 1, 2, 5 และ 6  สำหรับพื้นที่ชั้น 1 มีพื้นที่รองรับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น งานเปิดบ้าน (Open House)  กิจกรรมการจัดการความรู้  และห้องอนุสรณ์ ดร.ตั้ว ลพานุกรม ซึ่งจัดแสดงเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ของกรมวิทยาศาสตร์บริการที่มีความสำคัญในอดีต  นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่ชั้น 3 และชั้น 4 ที่ให้บริการห้องประชุม รวมจำนวน 4 ห้อง

 

1.1.2 นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียวโดยแสดงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ด้านห้องสมุด

(5) การปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

 

มีการปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

(6) การควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

 

มีการกำหนดในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ข้อ 6 เรื่อง ควบคุม ป้องกัน ลดผลกระทบด้านการใช้ทรัพยากร พลังงาน และมลพิษ/ของเสีย รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้าง และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(7) การปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียวของกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 

มีการกำหนดในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ข้อ 7 เรื่อง ปฏิบัติตามกฎหมายและเกณฑ์การเป็นสำนักงานสีเขียว (Green Office) ของกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(8) การสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง

 

มีการสร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง และมีการกำหนดในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ข้อ 7 เรื่อง สร้างความรู้และความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมกับผู้เกี่ยวข้อง

1.1.3 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้บริหารระดับสูง

(5) นโยบายสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

 

มีการจัดทำนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว และอนุมัติโดยผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(6) มีการระบุวันที่การประกาศใช้นโยบายสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

 

ในนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว มีการการระบุวันที่การประกาศใช้อย่างชัดเจน

นโยบายห้องสมุดสีเขียว

  • ปี 2561         อนุมัติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561
  • ปี 2562-2563 อนุมัติเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2562
  • ปี 2564-2565 อนุมัติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564
  • ปี 2566         อนุมัติเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565

นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

  • ปี 2567 อนุมัติเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567

นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2567 หัวข้อ นโยบาย มาตรการ ประกาศ สท.

(7) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน

 

นโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว กำหนดโดยผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจ ดังนั้น ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจสามารถอธิบายถึงวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการเป็นห้องสมุดสีเขียวได้

(8) ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจจะต้องมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อมของสำนักงาน

 

ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจมีส่วนในการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายห้องสมุดสีเขียว โดยผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นประธานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว และคณะดังกล่าว มีการจัดประชุมเพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียวประจำปี และมีการจัดทำรายงานการประชุมฯ แจ้งเวียนคณะทำงานฯ รับทราบด้วยแล้ว

รายงานการประชุม

1.1.4 มีการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวประจำปี

(4) รายละเอียดของแผนจะต้องระบุการดำเนินงานครบถ้วนทุกหมวด

 

ฝ่ายเลขานุการฯ จัดทำแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว โดยระบุการดำเนินงานครบทุกหมวด

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 - ประจำปีงบประมาณ 2564

 - ประจำปีงบประมาณ 2565 

 - ประจำปีงบประมาณ 2566

 - ประจำปีงบประมาณ 2567

(5) มีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานของแต่ละหมวด

 

ฝ่ายเลขานุการฯ จัดทำแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว โดยมีการกำหนดเวลาหรือความถี่ของการดำเนินงานแต่ละหมวด 

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 - ประจำปีงบประมาณ 2564

 - ประจำปีงบประมาณ 2565 

 - ประจำปีงบประมาณ 2566

 - ประจำปีงบประมาณ 2567

(6) มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร

 

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว มีการกำหนดแผนดำเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษร และได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร คือ ผู้อำนวยการกองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ผสท.) ดังนี้

  • ปี 2564 อนุมัติวันที่ 14 มิถุนายน 2564 คลิก      
  • ปี 2565 อนุมัติวันที่ 29 กันยายน 2564 คลิก
  • ปี 2566  อนุมัติเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 คลิก
  • ปี 2567  อนุมัติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2567 คลิก

1.1.5 มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านการใช้ทรัพยากรพลังงาน และของเสีย และปริมาณก๊าซเรือนกระจก ดังนี้

(5) การใช้ไฟฟ้า

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 1)

(6) การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 2)

(7) การใช้น้ำ

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้น้ำลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 3)

(8) การใช้กระดาษ

 

เป้าหมาย คือ มีการใช้กระดาษลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 4)

(9) ปริมาณของเสีย

 

เป้าหมาย คือ ปริมาณของเสียลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 5)

(10) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก

 

เป้าหมาย คือ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงร้อยละ 10 ตามประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567

ประกาศ สท. เรื่อง เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ 2567 (ข้อ 6)

1.2  คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดำเนินงาน ดังนี้

(3) ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมของสำนักงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติ โดยคณะกรรมการหรือทีมงานจะต้องครอบคลุมทุกหมวดและบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน

 

มีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว กองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีบันทึกข้อความเป็นลายลักษณ์อักษร และลงนามอนุมัติโดยผู้บริหารแล้ว เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 โดยคณะทำงานฯ ดังกล่าว ประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในกองหอสมุดฯ และภายในคำสั่ง มีการระบุหมวดด้านสิ่งแวดล้อมกำกับไว้อย่างชัดเจน

คำสั่ง สท. ที่ 5/2565 

(4) กำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่รับผิดชอบของคณะกรรมการอย่างชัดเจน

 

มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประกอบด้วยงานด้านห้องสมุดและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมคำสั่ง สท. ที่ 1/2567 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องสมุดสีเขียว กองหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการกำหนดอำนาจ บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมของคณะกรรมการแต่ละคนไว้อย่างชัดเจน

คำสั่ง สท. ที่ 1/2567

1.2.2 ร้อยละของคณะกรรมการ หรือทีมงานด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบประเมินจากการสุ่มสอบถาม ดังนี้

(3) ประธาน/หัวหน้า

 

ประธาน ดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งระบุในคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวฯ ซึ่งมีการระบุหมวดด้านสิ่งแวดล้อมกำกับไว้อย่างชัดเจน ทำให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เช่น ประธานฯ ได้เข้าร่วมการประชุมทุกครั้งที่จัดขึ้น มีการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ อยู่สม่ำเสมอ

(4) คณะกรรมการหรือทีมงานทางด้านสิ่งแวดล้อมที่รับผิดชอบทุกหมวด (สามารถมอบหมายให้ผู้ตรวจประเมินแต่ละหมวดสุ่มสอบถามได้)

 

คณะทำงานฯ ทุกคน (ร้อยละ 100) ได้ร่วมกันดำเนินงานตามบทบาท หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบุในคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียวฯ ทำให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยรวมรวมข้อมูลไว้ในรายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

รายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว

 - ปีงบประมาณ 2564

 - ปีงบประมาณ 2565

 - ปีงบประมาณ 2566

1.3 การระบุประเด็นปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

1.3.1 กิจกรรมทั้งหมดของสำนักงานภายใต้ขอบเขตการขอการรับรองสำนักงานสีเขียวจะต้องได้รับการระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม

(1) มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วนตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบทของสำนักงาน

 

มีการรวบรวมกิจกรรมของสำนักงานทั้งทางตรง และทางอ้อม ครบถ้วนตามกิจกรรม ขอบเขตและบริบทของสำนักงาน ในรายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2566

รายงานผลการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ปีงบประมาณ 2566

(2) มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ความเข้าใจ

 

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ความเข้าใจ

(3) ระบุการใช้พลังงาน ทรัพยากรวัตถุดิบ มลพิษ ของเสีย ของแต่ละกิจกรรมจะต้องครบถ้วน

 

 

 

(4) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมทางตรงและทางอ้อมครบถ้วน

 

 

 

(5) ระบุปัญหาสิ่งแวดล้อมสภาวะปกติ ผิดปกติ และฉุกเฉินครบถ้วน

 

 

 

(6) มีการพิจารณากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อมนั้นๆ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง

 

 

 

(7) การประเมินเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(8) มีหลักฐานการกำหนดระยะเวลาในการทบทวนการระบุประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

(9) กรณีมีการปรับแผน/กิจกรรม หรือมีกิจกรรมเพิ่มเติม (เช่น มีแผนที่จะก่อสร้างอาคาร หรือเพิ่มเติมกิจกรรมของสำนักงานในอนาคตอันใกล้ เป็นต้น) จะต้องระบุกิจกรรมดังกล่าวด้วย (ถ้ามี)

 

 

 

1.3.2 การวิเคราะห์และแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(1) มีสรุปรายการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

 

 

 

(2) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

 

มีการกำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ

(3) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน

 

มีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการแก้ไขครบถ้วน

(4) กำหนดมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉิน

 

 

 

(5) ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในสภาวะผิดปกติและสภาวะฉุกเฉินมีการดำเนินการตามมาตรการ คู่มือ หรือแนวทางการป้องกันครบถ้วน

 

 

 

1.4 กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

1.4.1 มีการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสำนักงาน โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้

(1) ผู้รับผิดชอบมีความเข้าใจในการรวบรวมกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

(2) จัดทำรายการกฎหมายที่ครอบคลุมปัญหาสิ่งแวดล้อมและบริบทของสำนักงาน

 

 

 

(3) สามารถระบุแหล่งที่มาของกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้

 

 

 

(4) สามารถระบุความเกี่ยวข้องของกฎหมายกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมได้

 

 

 

(5) กฎหมายสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นปัจจุบัน

 

 

 

(6) มีการรวบรวมและทบทวนกฎหมายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

 

มี

ไม่มี

หลักฐาน

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 กำหนดแผนการฝึกอบรมดำเนินการอบรม การประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

(5) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรมลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้

- ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว

- การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

- การจัดการมลพิษและของเสีย

- การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

- ก๊าซเรือนกระจก

 

มีการกำหนดเรื่องการพัฒนาบุคลากรห้องสมุดสีเขียวในแผนการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุด ประจำปีงบประมาณ 2566 ข้อ 30 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งคณะทำงานฯ เข้าร่วมอบรมเรื่องที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดสีเขียว เช่น

  1. การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565 จัดโดย กรมวิทยาศาสตร์บริการ ผ่านระบบออนไลน์
  2. Library talk เรื่อง การลดก๊าซเรือนกระจก เพื่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2566 จัดโดย หอสมุดรัฐสภาและคณะขับเคลื่อนสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นสำนักงานสีเขียว
  3. งานสัมมนา เรื่อง มาร่วมเป็นองค์กรคาร์บอนนิวทรัลด้วยการทำกิจกรรมชดเชยคาร์บอน เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 จัดโดย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

แผนการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุด ประจำปีงบประมาณ 2566 (ข้อ 30)

(6) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1) โดยผู้รับการอบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ 80bของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร

 

มีการดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการฝึกอบรมในข้อ (1)

กรณี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เป็นผู้จัดการอบรม ระหว่างการอบรมมีผู้รับการอบรมมากกว่าร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเรื่อง

จำนวน 2 เรื่อง ดังนี้

  1. การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565
  2. หนทางสู่เป้าหมาย Carbon Neutrality และ Net Zero Emissions ของกรมวิทยาศาสตร์บริการ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566

(7) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะปฏิบัติงาน เป็นต้น

 

การประเมินขณะปฏิบัติงานโดยหัวหน้ากลุ่มสังเกตการปฏิบัติงานของบุคลากร

(8) จัดทำประวัติการอบรมของพนักงาน

 

บุคลากรทุกคนได้จัดทำประวัติการอบรมเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลไว้แล้วตามระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015 ในแบบบันทึกและประเมินผลการพัฒนาบุคลากร (F-CD0-040)


    ตัวอย่างการอบรมของบุคลากร

2.1.2 กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

(3) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องเข้าใจเนื้อหาในการอบรม

 

ผู้รับผิดชอบในการอบรมมีความเข้าใจเนื้อหาในการอบรม

(4) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมีหลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอกหรือ ประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)

     

 

 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน

2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

(5) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

หัวข้อ

ความถี่

1. นโยบายสิ่งแวดล้อม

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

3. การปฏิบัติตามกฎหมาย

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.)

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

5. เป้าหมายและมาตรการพลังงานทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ)

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

7. ผลการใช้ทรัพยากรพลังงาน และของเสีย

ทุกเดือน

8.สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

9. ก๊าซเรือนกระจก

ทุกเดือน

 

มีการจัดทำนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว ฉบับล่าสุด ประกาศเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 และเวียนแจ้งให้คณะทำงานฯ รับทราบผ่านกลุ่มไลน์ และระบบ e-Sarabun


มีการแจ้งเรื่องการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวผ่านกลุ่มไลน์ ทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรม

         

    

(6) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)

 

มีการกำหนดช่องทางการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

  1. กลุ่มไลน์ห้องสมุดสีเขียว ชื่อกลุ่ม SLTD Green Library
  2. เว็บไซด์ห้องสมุดสีเขียว กองหอสมุดฯ กรมวิทยาศาสตร์บริการ

https://lib1.dss.go.th/greenlib/index.php/th/

  1. Facebook กองหอสมุดฯ

https://www.facebook.com/ScienceLibraryDSS/

     4. อีเมลของผู้รับบริการที่แสดงความต้องการรับข้อความผ่านทางอีเมล ส่งโดย This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

(7) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)

 

มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร เพื่อให้ตรงตามความต้องการ

มีรายชื่อ e-mail ของผู้รับบริการที่แจ้งความประสงค์รับข้อมูลข่าวสาร

(8) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร

 

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร เพื่อการดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยหัวหน้ากลุ่มสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มอบหมายให้ นางสาวพรทิพย์ เส็นสด นักวิชาการเผยแพร่  เป็นผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร เผยแพร่ข่าวสารของกองหอสมุดฯ 

2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

(5) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสารอย่างน้อย ดังนี้

หัวข้อ

ความถี่

1. นโยบายสิ่งแวดล้อม

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

2. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

3. การปฏิบัติตามกฎหมาย

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

4. ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.)

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

5. เป้าหมายและมาตรการพลังงานทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ)

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

6. เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

7. ผลการใช้ทรัพยากรพลังงาน และของเสีย

ทุกเดือน

8.สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

9. ก๊าซเรือนกระจก

ทุกเดือน

 

 

 

1. มีการจัดทำแผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ฉบับล่าสุด ประกาศเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2567 และเวียนแจ้งให้คณะทำงานฯ รับทราบผ่านกลุ่มไลน์ โดยตามแผนฯ หมวด 2 ข้อ 10 กำหนดให้มีการสื่อสารเรื่อง ห้องสมุดสีเขียว หัวข้อ 1-6 ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบาย

แผนพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปีงบประมาณ 2567

2. มีการแจ้งเรื่องห้องสมุดสีเขียวผ่านกลุ่มไลน์ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือจัดกิจกรรม

- นโยบายห้องสมุดสีเขียว

มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์นโยบายห้องสมุดสีเขียวภายในลิฟต์ห้องสมุด รวมถึงหน้าเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียวทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

แนบ ภาพการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์นโยบายห้องสมุดสีเขียว

 - ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง

3.มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านบัญชีรายชื่อหนังสือใหม่ รวมทั้งจัดทำในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เผยแพร่ผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ อีเมล เฟซบุ๊ก ไลน์

บัญชีรายชื่อหนังสือใหม่         

     

  - ความรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง 

  - กิจกรรมห้องสมุดสีเขียว

  - กิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือ

ือ

 

 

 

 

2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังน

(5) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์

 

 

มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

  1. กลุ่มไลน์ห้องสมุดสีเขียว ชื่อกลุ่ม SLTD Green Library
  2. เว็บไซด์ห้องสมุดสีเขียว กองหอสมุดฯ กรมวิทยาศาสตร์บริการ

https://lib1.dss.go.th/greenlib/index.php/th/

  1. Facebook กองหอสมุดฯ

https://www.facebook.com/ScienceLibraryDSS/

(6) มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น

 

กองหอสมุดฯ มีเคาน์เตอร์ให้บริการและมีกล่องรับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ

    

(7) มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

 

จากการประชุมในแต่ละครั้ง ประธานและคณะทำงานฯ ร่วมกันแสดงข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น และมีมติที่ประชุมของแต่ละเรื่องรายงานในรายงานการประชุมฯ แต่ละครั้ง

รายงานการประชุม

(8) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)

 

จากการประชุมในแต่ละครั้ง ผลการปรับปรุงจากข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น มีการนำเสนอต่อผู้บริหาร และมีมติที่ประชุมของแต่ละเรื่องรายงาน และจัดทำรายงานการประชุมฯ แต่ละครั้ง

รายงานการประชุม

 

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

4.1 การจัดการของเสีย

4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

(1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

 

มีมาตรการในการบริหารจัดการขยะภายในอาคาร สท. โดยกำหนดในมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สท. เช่น มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้น

มาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 

(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

 

ติดป้ายบ่งชี้ขยะแต่ละประเภทอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภททุกเดือน

ข้อมูลสถิติบันทึกปริมาณขยะ      

     

(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับเพียงพอ

 

มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับเพียงพอ

(4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

 

มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

(5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

 

มีการนำขยะไปรวมกับกรมโรงงาน เพื่อจัดส่งขยะ

(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

 

 

 

(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)

 

ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน

4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง

(1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่

 

มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ เช่น กระดาษที่ใช้แล้ว 1 หน้า

(2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน

 

มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภทครบถ้วนทุกเดือน เผยแพร่บนเว็บไซต์ ข้อมูลสถิติบันทึกปริมาณขยะ 

(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

 

มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5

(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

 

จากการบันทึกปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

4.2 การจัดการน้ำเสีย

4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง ดังนี้

(1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล

 

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล เช่น มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะบริเวณพื้นที่รับประทานอาหาร โดยกำหนดผู้รับผิดชอบคือ แม่บ้านเป็นผู้ดูแลทำความสะอาดถังดักไขมัน และมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลถังดักไขมัน

    

(2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย

 

มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะบริเวณพื้นที่รับประทานอาหาร

(3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

 

มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

(4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

 

 

 

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้

(1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

 

มีแม่บ้านเป็นผู้ดูแลทำความสะอาดถังดักไขมัน จำนวน 1 ครั้งต่อสัปดาห์ และตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้งานของถังดักไขมัน

(2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย หรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

 

มีการทำความสะอาดถังดักไขมันอย่างถูกต้องตามวิธีที่กำหนด

(3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

 

มีการตรวจสอบถังดักไขมันให้มีสภาพพร้อมใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

(4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ

 

มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่น ๆ

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

หมวดที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน

3.1 การใช้น้ำ

3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

 

มีการสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ โดยการกำหนดแนวทางประหยัดน้ำในมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สท. และสื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น การติดประกาศตามบริเวณต่าง ๆ การแจ้งเวียนทางไลน์

มาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

(2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

 

มีการกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เวลา 7.00 - 8.00 น.

(3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่

 

 

 

(4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ

 

มีการใช้อุปกรณ์เพื่อประหยัดน้ำ 

3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำรายเดือน และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้น้ำปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว 

ข้อมูลสถิติการใช้น้ำ

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้น้ำปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว 

ข้อมูลสถิติการใช้น้ำ

(3) บรรลุเป้าหมาย

 

 

บรรลุเป้าหมายการใช้น้ำตามที่กำหนด

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

มีการวิเคราะห์สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน

 

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำรายเดือน และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้น้ำปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว ข้อมูลสถิติการใช้น้ำ

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย

 

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้น้ำปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว ข้อมูลสถิติการใช้น้ำ

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

 

มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข และมีการจัดทำมาตรการฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่พนักงานในการใช้น้ำอย่างประหยัด และติดภาพ Infographic บริเวณพื้นที่ทุกชั้นและในลิฟต์โดยสารด้วย

3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

3.2 การใช้พลังงาน

3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้

(5) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

 

 

มีการสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าโดยการกำหนดมาตรการการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อสร้างความตระหนักในมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

มาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

(6) การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการเปิด - ปิด เป็นต้น

 

 

มีกำหนดเวลาในการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า รวมถึงกำหนดช่วงเวลาการเปิด-ปิด และกำหนดอุณหภูมิในการใช้งานเครื่องปรับอากาศ

(7) การใช้พลังงานทดแทน

 

 

 

 

(8) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า

 

มีการดำเนินการเปลี่ยนไปใช้หลอดไฟ LED (รายงานผลการดำเนินงานฯ ภาคผนวกที่ 6 เรื่อง โครงสร้างพื้นฐานทางด้านกายภาพและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หัวข้อ 1.3 ตรวจสอบหลอดไฟฟ้าส่องสว่าง)

รายงานผลการดำเนินงานฯ ปีงบประมาณ 2566 (ภาคผนวกที่ 6 ข้อ 1.3)

3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

 

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายเดือน และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้ไฟฟ้าปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว ข้อมูลสถิติการใช้ไฟฟ้า

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

 

 

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้ไฟฟ้าปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว ข้อมูลสถิติการใช้ไฟฟ้า

(3) บรรลุเป้าหมาย

 

 

บรรลุเป้าหมายโดยมีปริมาณการใช้ไฟฟ้าลดลงจากปี 2565

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

มีการจัดทำมาตรการฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่พนักงานในการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน

 

 

 

 

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย

 

 

 

 

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

 

 

 

3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน

 

 

 

 

3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้

(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

 

(2) การวางแผนการเดินทาง

 

 

 

 

(3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

 

 

(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน

 

 

3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

 

 

 

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

 

 

 

(3) บรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

 

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน

 

 

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย

 

 

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

 

 

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่นๆ

3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

 

 

การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษโดยกำหนดมาตรการการประหยัดกระดาษ ในมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เช่น การลดใช้กระดาษ โดยส่งเอกสารในรูปแบบ digital file  หรือ QR CODE มีการใช้กระดาษ REUSE หรือการนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่

มาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

 

มีการกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษให้เหมาะสมกับการใช้งาน

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

มีการกำหนดมาตรการประหยัดกระดาษโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อลดการใช้กระดาษ

(4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่

 

มีการนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่ เพื่อให้คุ้มค่า

3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษรายเดือน และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้กระดาษปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว ข้อมูลสถิติการใช้กระดาษ

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

 

มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย และแสดงข้อมูลกราฟเปรียบเทียบการใช้กระดาษปีที่ผ่านมา เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว ข้อมูลสถิติการใช้กระดาษ

(3) บรรลุเป้าหมาย

 

บรรลุเป้าหมายโดยมีปริมาณการใช้กระดาษลดลงจากปี 2565

(4) สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

เนื่องจากมีการจัดทำมาตรการฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่พนักงานในการใช้กระดาษหรือวัสดุอุปกรณ์สำนักงานอย่างประหยัด จึงนำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย

 

 

 

(1) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน

 

 

 

(2) มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย

 

 

 

(3) มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข

 

 

 

3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

 

 

 

 

3.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้

(1) การสร้างความตระหนักในการใช้

 

การสร้างความตระหนักในการใช้หมึกพิมพ์ โดยกำหนดในมาตรการการประหยัดกระดาษ

(2) การกำหนดรูปแบบการใช้

 

 

 

(3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)

 

 

 

 

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น

 

 

 

 

3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากร -พลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้

(1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุม เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุม หรือจัดนิทรรศการ

 

มีมาตรการจัดประชุมและจัดเลี้ยงสีเขียว กำหนดในมาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สท. เช่น มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเชิญประชุม มีการจัดเตรียมสถานที่ประชุม การจัดเตรียมอุปกรณ์ การจัดเตรียมเอกสาร และมีการประชุมแบบออนไลน์เพื่อลดการใช้พลังงานและทรัพยากร

มาตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

(2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

 

ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

(3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

มีการเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น ค้นหาโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ผ่านเว็บไซต์ https://www.dcce.go.th/news/project.aspx?p=116

(4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์

 

มีการจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม เพื่อลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์ เช่น ใช้จอโทรทัศน์แทน

(5) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

มีการจัดเลี้ยงอาหารว่างเป็นขนมไทย หรือผลไม้ตามฤดูกาล ไม่มีการใช้บรรจุภัณฑ์โฟม โดยคัดเลือกอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

มี

ไม่มี

หลักฐาน

5.1 อากาศในสำนักงาน

5.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

(1) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ รถยนต์ ปั๊มดูดน้ำ ปั๊มดับเพลิง เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน) 

 

มีแผนการตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ตามแผนการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปีงบประมาณ 2566 เรื่อง โครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ 10 ตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามแผนการดูแลบำรุงรักษา 

 

มีการกำหนดหน้าที่ให้แม่บ้านเป็นผู้ดูแลทำความสะอาดม่าน/มู่ลี่/พรม เป็นประจำทุกสัปดาห์

(3) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1 

 

มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1 

(4) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศและใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพจากการปฏิบัติในข้อ 1

 

มีการควบคุมมลพิษทางอากาศและใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพจากการปฏิบัติในข้อ 1 

5) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน 

 

 

 

(6) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์ 

 

 

(7) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยากำจัดแมลง (ถ้ามี) 

 

 

(8) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่ายเป็นหลักฐานประกอบ)

 

 

 

5.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด

(1) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่

 

 

มีข้อความ “งดสูบบุหรี่ในอาคาร” ติดประกาศเพื่อแจ้งข้อควรปฏิบัติขณะเข้าใช้บริการ

   

(2) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

 

 

มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ บริเวณพื้นที่สำนักงาน

(3) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่

 

 

 

 

(4) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น

 

 

 

 

(5) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่

 

ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่

5.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

 

 

 

 

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

- มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

- มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทางอากาศที่จะส่งผลกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

- มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย

 

 มีการกำหนดพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

5.2 แสงในสำนักงาน

5.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด

(1) มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างประจำปี พร้อมแสดงหลักฐานผลการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างเฉพาะจุดทำงานแลพื้นที่ทำงาน

 

มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างในสำนักงาน โดยการติดต่อประสานงานให้หน่วยงานผู้ตรวจ มาเนินการตรวจวัดตั้งแต่ปี 2561-2566

(2) เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)

 

เครื่องวัดความเข้มของแสงสว่างมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ

(3) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด

 

มีผลการตรวจวัดที่เป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด

(4) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

 

ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างมีคุณสมบัติเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด

5.3 เสียง

5.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

 

มีการกำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน

 

มีแนวทางควบคุมเสียงดังที่เกิดขึ้นในสำนักงาน โดยบุคลากรทุกคนจะช่วยกันดูแล หากมีกรณีเกิดเสียงดังก็จะแจ้งเตือน ส่วนกิจกรรมอื่น ๆ ที่ก่อให้เกิดเสียงดังภายในสำนักงาน จะแจ้งผู้เกี่ยวข้องให้หลีกเลี่ยงการดำเนินการในเวลาราชการ โดยให้ดำเนินการในวันหยุดราชการแทน และยังไม่ปรากฏข้อร้องเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับเสียงดัง

5.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

(1) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร

 

 

มีการกำหนดมาตรการและแนวทางควบคุมเสียงดังที่เกิดขึ้นในสำนักงาน โดยบุคลากรทุกคนจะช่วยกันดูแล หากมีกรณีเกิดเสียงดังก็จะแจ้งเตือน ส่วนกิจกรรมอื่น ๆ ที่ก่อให้เกิดเสียงดัง เช่น การเจาะ การรื้อถอน ฯลฯ จะแจ้งผู้เกี่ยวข้องให้หลีกเลี่ยงการดำเนินการในเวลาราชการ โดยให้ดำเนินการในวันหยุดราชการแทน และยังไม่ปรากฏข้อร้องเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับเสียงดัง

(2) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ (1)

แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้

- มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

- มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย

 

มีการกำหนดพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน

มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย

5.4 ความน่าอยู่

5.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการดังนี้

(1) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรืออื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้

 

มีการจัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและนอกอาคาร โดยกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวม พื้นที่จัดกิจกรรมและพื้นที่ทำงาน เป็นต้น

(2) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

 

มีการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลในแต่ละพื้นที่คือ หัวหน้ากลุ่มและบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ประจำชั้น ดังนี้

  • กลุ่ม สส. ดูแลชั้น 1, 2, 6
  • กลุ่ม อก. และ ทส. ดูแลชั้น 3
  • กลุ่ม พค. ดูแลชั้น 4
  • กลุ่ม สว. ดูแลชั้น 5

(3) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร

 

มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะ และพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร เช่น 

(4) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน

 

มีการกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน ตามแผนการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปีงบประมาณ 2566 เรื่อง โครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพและเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ 12 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว

แผนการดำเนินงานคณะทำงานพัฒนาห้องสมุดสีเขียว ประจำปีงบประมาณ 2566

5.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด

 

 

 

 

5.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น

 

 

 

 

5.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ

 

มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ เช่น การติดตาข่ายกันนกพิราบ เป็นต้ส

(2) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง

 

มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ 1 ครั้ง

(3) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)

 

มีการตรวจสอบร่องรอย เดือนละ 1 ครั้ง

(4) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค

 

 

มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการ เมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค

(5) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน

 

 

ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรคในระหว่างการตรวจประเมิน

5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน

5.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด

(1) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ

 

มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ

แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย ประจำปี 2566

(2) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้นจะต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน

 

มีจำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้นของพนักงานแต่ละแผนกหรือส่วนงาน 

(3) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มีการฝึกซ้อมเท่านั้น)

  พนักงานทุกคนเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (พิจารณาพนักงานหรือผู้ปฏิบัติงานทุกคนที่อยู่ประจำพื้นที่สำนักงานที่มีการฝึกซ้อมเท่านั้น)

(4) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น

 

มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด

ภาพอบรมเชิงปฏิบัติการแผนการป้องกันภัยและระงับอัคคีภัย (ดับเพลิง)

(5) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น

 

มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด

โครงการอบรมเชิงฏิบัติการแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย หลักสูตร “การดับเพลิงชั้นต้น การฝึกซ้อมดับเพลง และฝึกปฏิบัติซ้อมอพยพหนีไฟ”

ภาพโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย (ซ้อมอพยพ)

(6) มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

 

มีการกำหนดจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

    

(7) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน

(8) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

 

มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟ ไปยังจุดรวมพล พร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน

มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

แผนผังอพยพหนีไฟและการกำหนดทางออกฉุกเฉิน

5.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน

(สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

 

 

 

 

5.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย 4 คน)

(1) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง

- ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่าง อย่างน้อย 20 เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 150 เซนติเมตรนับจากคันบีบ และถ้าเป็นวางกับพื้นจะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง

- ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)

- สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี)

 

มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง

- ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน

- สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station)

      

      

(2) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน

- สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า 300 ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน 2 ชั้นขึ้นไป)

- ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector)

 

 

มีการติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน

- สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

- ติดตั้งตัวดักจับควัน (smoke detector) หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector)

    

(3) มีการตรวจสอบข้อ (1) - (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข

 

มีการตรวจสอบข้อ (1) - (2) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข

(4) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้้อยร้อยละ 75 จากที่สุ่มสอบถาม